เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้
เราใช้ Cookies เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์ออนไลน์ที่ดีที่สุด สรุปนโยบายความเป็นส่วนตัวและ Cookies อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Policy)
บริษัท โรงพยาบาลรามคําแหง จํากัด (มหาชน)
โรงพยาบาลรามคำแหง (“โรงพยาบาล”) ได้จัดทำนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ที่ท่านให้โรงพยาบาลใน ระหว่างการร้องขอการบริการ การเยี่ยมชมเว็บไซต์
หรือใช้แอพพลิเคชั่นของหรือจากโรงพยาบาล นโยบาย คุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคลนี้รวมถึงข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวกับตัวคุณโดยเป็นการส่งต่อมาจากบุคคลที่สาม
ข้อมูลส่วนบุคคล หมายถึง “ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทำให้สามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ ไม่ว่าทางตรงหรือ ทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรมโดยเฉพาะ”
การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล
1. โรงพยาบาลเก็บข้อมูลส่วนบุคคลของ ท่าน ที่สามารถระบุตัวตนได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อประโยชน์ต่อท่านในระยะเวลาที่เหมาะสมจำเป็นต่อการให้บริการ ในกรณีที่ท่านเป็นผู้ให้ข้อมูล กับโรงพยาบาล หรือร้องขอการบริการจากโรงพยาบาลผ่านช่องทางเว็บไซต์ แอพพลิเคชั่นหรือ ช่องทางอื่นใดของโรงพยาบาล อาทิเช่น การนัดหมายแพทย์ การทำธุรกรรมแบบออนไลน์ การสมัครรับจดหมายข่าว การขอรับความช่วยเหลือพิเศษ รวมไปถึงการทำธุรกรรมแบบออฟไลน์ เช่น การลงทะเบียนผู้ป่วยที่เคาน์เตอร์ลงทะเบียนของโรงพยาบาล หรือจากความสมัครใจ ของท่านใน การทำแบบสอบถาม (Survey) หรือการโต้ตอบทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรือการกรอก ให้ข้อมูลประกอบการสมัครงาน หรือช่องทางการสื่อสารอื่นๆ ระหว่างโรงพยาบาล และท่าน
2. โรงพยาบาลอาจได้รับข้อมูลส่วนบุคคลของท่านจากบุคคลที่สาม เช่นธุรกิจในเครือข่าย ตัวแทน จำหน่าย หรือผู้ให้บริการของโรงพยาบาล หน่วยงานภาครัฐ
ข้อมูลส่วนบุคคลที่โรงพยาบาลเก็บรวบรวม
ประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลที่โรงพยาบาลเก็บรวบรวมจากท่านจะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของการเก็บรวบรวม และประเภทของการบริการที่ท่านร้องขอจากโรงพยาบาล ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านจะถูกนำมาใช้เพื่อให้การทำธุรกรรมออนไลน์หรือออฟไลน์ หรือบริการที่ได้รับการร้องขอเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลที่โรงพยาบาล เก็บรวบรวมโดยตรงจากท่าน หรือจากบุคคลที่สาม มีดังนี้
1) ข้อมูลระบุตัวตน เช่น ชื่อ ภาพถ่าย เพศ วัน เดือน ปีเกิด หนังสือเดินทาง หมายเลขบัตรประชาชน หรือหมายเลขที่สามารถระบุตัวตนอื่นๆ
2) ข้อมูลสำหรับการติดต่อ เช่น ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และอีเมลล์
3) ข้อมูลการชำระเงิน เช่น ข้อมูลการเรียกเก็บเงิน ข้อมูลบัตรเครดิตหรือเดบิต และ รายละเอียดบัญชี ธนาคาร
4) ข้อมูลการเข้ารับบริการ เช่น ข้อมูลการนัดหมายแพทย์ ข้อมูลส่วนบุคคลของญาติ ความต้องการ เกี่ยวกับห้องพัก อาหาร และบริการเสริมอื่นๆ
5) ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมทางการตลาด เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเพื่อร่วมกิจกรรมกับเรา
6) ข้อมูลสถิติ เช่น จำนวนผู้ป่วย และการเข้าชมเว็บไซต์
7) ข้อมูลจากการเข้าใช้เว็บไซต์ของโรงพยาบาล
8) ข้อมูลด้านสุขภาพ รายงานที่เกี่ยวกับสุขภาพกาย และสุขภาพจิต การดูแลสุขภาพของท่าน ผลการทดสอบจากห้องทดลอง ห้องปฏิบัติการ และการวินิจฉัย
9) ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาและการแพ้ยาของท่าน
10) ข้อมูล Feedback และผลการรักษาที่ท่านให้ไว้
เราจะไม่เก็บและใช้ข้อมูลที่มีความละเอียดอ่อนของคุณ เช่น เชื้อชาติ ความเชื่อทางศาสนา ประวัติอาชญากร เว้นแต่เป็นไปตามที่ข้อบังคับและกฎหมายกำหนด หรือโดยความยินยอมของท่าน
การใช้ข้อมูลส่วนบุคคล
โรงพยาบาลจะใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน ตามวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
1) จัดหาบริการ หรือส่งมอบบริการของโรงพยาบาล
2) นัดหมายแพทย์ ส่งข่าวสาร แนะนำบริการของโรงพยาบาล
3) การประสานงานและส่งต่อข้อมูลซึ่งจะช่วยให้การส่งต่อผู้ป่วยมีความรวดเร็วขึ้น
4) การยืนยันตัวตนของผู้ป่วย
5) ส่งข้อความแจ้งเตือนการนัดหมายแพทย์ หรือการเสนอความช่วยเหลือจากโรงพยาบาล
6) อำนวยความสะดวกและนำเสนอรายการสิทธิประโยชน์ต่างๆ แก่ท่าน
7) จุดประสงค์ด้านการตลาด การส่งเสริมการขาย และการลูกค้าสัมพันธ์ เช่น การส่งข้อมูลเกี่ยวกับ โปรโมชั่น ผลิตภัณฑ์และบริการ รายการส่งเสริมการขาย และธุรกิจพันธมิตร
8) เพื่อเป็นช่องทางในการสื่อสาร ตอบค าถาม หรือตอบสนองข้อร้องเรียน
9) สำรวจความพึงพอใจของลูกค้า วิจัยตลาด วิเคราะห์ทางสถิติประมวลผลและแสดงผลเพื่อเป็น ข้อมูลในการปรับปรุงผลิตภัณฑ์และบริการ หรือสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ๆ ให้แก่ผู้ใช้บริการได้รับประโยชน์ยิ่งขึ้น
10) วัตถุประสงค์ทางบัญชีหรือทางการเงิน เช่นการตรวจสอบการชำระเงินผ่านบัตรเครดิต การเรียกเก็บเงินและการตรวจสอบความถูกต้อง การขอคืนเงิน
11) รักษาความปลอดภัย รวมถึงความปลอดภัยขณะพักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล
12) เพื่อวัตถุประสงค์ในการสมัครงาน การเป็นพนักงาน หรือวัตถุประสงค์อื่นใดที่เกี่ยวข้อง
13) ปฏิบัติตามกฎของโรงพยาบาล
14) ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อกำหนด ระเบียบ ข้อบังคับ หรือการร้องขอใดๆจากหน่วยงานภาครัฐ เช่น การปฏิบัติตามหมายเรียกพยาน หรือคำสั่งศาล หรือการร้องขออื่นๆ ที่ถูกต้องตามกฎหมาย
15) วัตถุประสงค์อื่นๆ ที่สนับสนุนการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ข้างต้น หรือที่ได้รับความยินยอมจาก ท่านเป็นครั้งคราว
การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
โรงพยาบาลอาจเปิดเผยหรือถ่ายโอนข้อมูลส่วนบุคคลของท่านไปยังบุคคลที่สาม ซึ่งอาจตั้งอยู่ภายในหรือ นอกราชอาณาจักร โดยโรงพยาบาลจะดำเนินตามมาตรการที่จำเป็นและเหมาะสม หรือเป็นไปตามข้อบังคับและ กฎหมาย เพื่อวัตถุประสงค์ที่ตามระบุไว้ข้างต้น ให้แก่
1) พันธมิตรทางธุรกิจ เช่น บริษัทประกัน พันธมิตรที่เข้าร่วมรายการโปรแกรมสะสมคะแนน และสิทธิ ประโยชน์และศูนย์การแพทย์ และหรือบริษัทอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการให้บริการ
2) ธนาคาร และผู้ให้บริการชำระเงิน เช่น บริษัทบัตรเครดิต หรือเดบิต
3) เจ้าหน้าที่รักษาความมั่นคงและความปลอดภัย
4) หน่วยงานตรวจคนเข้าเมือง และหน่วยงานศุลกากร
5) หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานกำกับดูแล และหน่วยงานอื่นๆ ตามที่กฎหมายอนุญาต หรือกำหนดไว้
การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์บุคคลที่สาม เว็บไซต์และแอพพลิเคชั่นบนมือถือของโรงพยาบาล อาจมีลิงก์เชื่อมไปยังเว็บไซต์บุคคลที่สาม หากท่านไปตาม ลิงก์เหล่านี้ นโยบายความเป็นส่วนตัวนี้ไม่มีผลกับเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม โปรดทราบว่าโรงพยาบาลไม่ สามารถรับผิดชอบใดๆ ต่อการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านโดยบุคคลที่สามดังกล่าว เนื่องจากอยู่นอกการ ควบคุมของโรงพยาบาล
การเก็บรักษาข้อมูลส่วนบุคคล และความปลอดภัย
1. ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านจะถูก เก็บรักษาไว้นานเท่าที่จำเป็น เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ตามที่อธิบาย ไว้ในนโยบายความเป็นส่วนตัวนี้ หรือภายใต้ข้อบังคับของกฎหมาย หรือเพื่อการดำเนินการทาง กฎหมาย
2. โรงพยาบาลจะใช้มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัย และการบริหารจัดการที่เหมาะสมเพื่อ ป้องกันและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลของท่านที่โรงพยาบาลเก็บรวบรวม
สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
1. สิทธิในการเพิกถอนความยินยอม (right to withdraw consent) : ท่านมีสิทธิในการเพิกถอนความ ยินยอมในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลที่ท่านได้ให้ความยินยอมกับโรงพยาบาลได้ ตลอดระยะเวลาที่ ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านอยู่กับโรงพยาบาล
2. สิทธิในการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล (right of access) : ท่านมีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของท่านและ ขอให้โรงพยาบาลทำสำเนาข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวให้แก่ท่าน รวมถึงขอให้โรงพยาบาลเปิดเผยการได้มาซึ่ง ข้อมูลส่วนบุคคลที่ท่านไม่ได้ให้ความยินยอมต่อโรงพยาบาลได้
3. สิทธิในการแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลให้ถูกต้อง (right to rectification) : ท่านมีสิทธิในการขอให้โรงพยาบาล แก้ไขข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง หรือเพิ่มเติมข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์
4. สิทธิในการลบข้อมูลส่วนบุคคล (right to erasure) : ท่านมีสิทธิในการขอให้โรงพยาบาลท าการลบข้อมูล ของท่านด้วยเหตุบางประการได้
5. สิทธิในการระงับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล (right to restriction of processing) : ท่านมีสิทธิในการระงับการ ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของท่านด้วยเหตุบางประการได้
6. สิทธิในการให้โอนย้ายข้อมูลส่วนบุคคล (right to data portability) : ท่านมีสิทธิในการโอนย้ายข้อมูลส่วน บุคคลของท่านที่ท่านให้ไว้กับโรงพยาบาลไปยังผู้ควบคุมข้อมูลรายอื่น หรือตัวท่านเองด้วยเหตุบางประการได้
7. สิทธิในการคัดค้านการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (right to object) : ท่านมีสิทธิในการคัดค้านการ ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของท่านด้วยเหตุบางประการได้
ท่านสามารถร้องขอการเข้าถึงหรือขอให้อัพเดตและแก้ไขข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน รวมถึงสิทธิอื่นใดข้างต้น หรือสิทธิตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ใช้บังคับ เช่น ขอสำเนาข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน หรือขอให้ระงับการใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน กรณีเห็นว่าข้อมูลส่วนบุคคลของท่านถูกนำไปใช้เกิน ขอบเขตวัตถุประสงค์การใช้งานที่แจ้งให้ทราบข้างต้น หรือไม่ได้รับความยินยอมจากท่าน
การเปลี่ยนแปลงนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
โรงพยาบาลจะทำการพิจารณาทบทวนนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็นประจำเพื่อให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติ กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ หากมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลโรงพยาบาลจะแจ้ง ให้ท่านทราบด้วยการ อัพเดตข้อมูลลงในเว็บไซต์ของโรงพยาบาล https://www.ram-hosp.co.th/contactus โดยเร็วที่สุด ทั้งนี้หากท่านมีคำถาม ข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียนเกี่ยวกับนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลโปรดติดต่อได้ที่อีเมลล์ support@ram-hosp.co.th
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 01 มิถุนายน 2565
(นพ.พิชญ สมบูรณสิน)
กรรมการบริหาร
บริษัท โรงพยาบาลรามคําแหง จํากัด (มหาชน)
สำหรับหลาย ๆ คน คำว่า “เนื้องอก” ไม่ว่าจะเกิดขึ้นกับส่วนไหน ๆ ก็น่ากลัวไปหมด ยิ่งถ้าเป็นเนื้องอกที่เกิดขึ้นในสมอง ก็ยิ่งเป็นเรื่องน่ากลัว จนหลายคนต้องการที่จะผ่าตัดเพื่อนำเนื้อส่วนเกินนี้ออกไปจากร่างกายให้ไวที่สุด แต่ในหลาย ๆ กรณีนั้น อาจพูดได้ว่าการผ่าตัดไม่ใช่ทางออกที่จำเป็นขนาดนั้น ขั้นตอนการรักษาจึงขึ้นอยู่กับแพทย์ที่จะทำการวินิจฉัย ว่าการผ่าตัดจำเป็นไหม หรือต้องใช้การรักษารูปแบบใดถึงจะเหมาะกับคนไข้แต่ละเคสมากที่สุด เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้มากขึ้น วันนี้โรงพยาบาลรามคำแหงจึงขอมาแนะนำประเภทและระดับของเนื้องอกในสมอง พร้อมวิธีการสังเกตอาการ และแนะนำบริการคุณภาพจากโรงพยาบาลรามคำแหงในการรักษาโรคดังกล่าว
ก่อนอื่นเราควรมาทำความเข้าใจคำว่า “เนื้องอก” และ “มะเร็ง” ซึ่งหลายคนเข้าใจว่าเป็นโรคเดียวกัน แต่จริง ๆ แล้วไม่ใช่เลย ทั้งสองคำนี้มีความแตกต่างกันอย่างมาก และมีระดับความอันตรายแตกต่างกัน ซึ่งจะขออธิบายในรายละเอียดดังนี้
เนื้องอก (Tumor) คือ การเจริญเติบโตที่ผิดปกติของเซลล์หรือเนื้อเยื่อในร่างกาย ซึ่งสามารถเกิดขึ้นในอวัยวะใดก็ได้ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ เนื้องอกชนิดดีและเนื้องอกชนิดร้าย โดยมีลักษณะเป็นก้อนเนื้อที่งอกขึ้นมาใหม่ ซึ่งหากเป็นเนื้องอกชนิดดี จะไม่มีการลุกลามเข้าสู่เนื้อเยื่อหรือต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียง และไม่แพร่กระจายทางกระแสเลือด แม้ว่าขนาดของเนื้องอกจะโตขึ้นเรื่อย ๆ ก็ตาม โดยการรักษาเนื้องอกชนิดดีมักทำได้ด้วยการผ่าตัด
ขณะที่มะเร็ง (Cancer) เกิดจากการเจริญเติบโตที่รวดเร็วและควบคุมไม่ได้ของเซลล์ที่ผิดปกติ ซึ่งเซลล์เหล่านี้สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้
ในกรณีที่เซลล์มีการเจริญเติบโตผิดปกติ จะเกิดการแบ่งตัวที่ทวีคูณ อาจทำให้เกิดก้อนเนื้อเยื่อหรือเนื้องอก ซึ่งเนื้องอกนั้นอาจเป็นชนิดที่ไม่เป็นมะเร็งหรือเป็นมะเร็งก็ได้
เนื้องอกที่ไม่เป็นมะเร็งแม้จะมีขนาดใหญ่ แต่ก็จะไม่ลุกลามไปยังเนื้อเยื่อหรืออวัยวะอื่น ๆ และสามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โดยทั่วไปเนื้องอกชนิดนี้จะไม่กลับมาโตอีก แต่ถ้าเกิดในอวัยวะสำคัญ เช่น สมอง ก็อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
ส่วนเนื้องอกที่เป็นมะเร็ง อาจมีความเสี่ยงสูงที่จะกลับมาโตอีกหลังจากการผ่าตัด และอาจลุกลามแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น ๆ ได้ด้วย ส่วนมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งเม็ดเลือดขาว อาจไม่ก่อให้เกิดก้อนเนื้อแต่อย่างไรก็ยังเป็นอันตรายมากอยู่ดี
ความแตกต่างระหว่างเนื้องอกและมะเร็ง คือ มะเร็งเป็นโรคที่มีการแพร่กระจาย สามารถเข้าสู่ระบบการไหลเวียนของเลือดหรือน้ำเหลือง และลุกลามไปยังอวัยวะอื่น ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทำให้มะเร็งเป็นโรคเรื้อรังที่มีความรุนแรงและการรักษาซับซ้อน ขณะที่เนื้องอกส่วนใหญ่ไม่ลุกลามหรือแพร่กระจาย ขั้นตอนการรักษาก็ไม่ซับซ้อน และสามารถรักษาให้หายได้ด้วยการผ่าตัด
ประเภทของเนื้องอกที่เกิดในสมองมีอะไรบ้าง และแต่ละรูปแบบเกิดขึ้นอย่างไร มีลักษณะอย่างไร สามารถดูรายละเอียดได้ดังต่อไปนี้
เนื้องอกสมองที่เกิดขึ้นจากสมองเองหรืออวัยวะรอบ ๆ (Primary Brain Tumor) เกิดขึ้นโดยตรงจากเนื้อสมองหรืออวัยวะที่อยู่รอบ ๆ เช่น เยื่อหุ้มสมอง เส้นประสาท หรือต่อมใต้สมอง โดยเนื้องอกประเภทนี้อาจเป็นได้ทั้งชนิดที่ไม่เป็นมะเร็ง (เนื้องอกชนิดดี) และชนิดที่เป็นมะเร็ง (เนื้องอกชนิดร้าย)
มีทั้งชนิดที่เป็นเนื้อดีและเนื้อร้าย ซึ่งชนิดนี้เป็นเนื้อร้ายจะมีชื่อว่าGBM (Glioblastoma Multiforme) ซึ่งเป็นเนื้องอกสมองชนิดร้ายแรงที่พัฒนามาจากเซลล์ประสาทชนิดหนึ่งที่เรียกว่า Astrocyte เซลล์นี้มีรูปร่างคล้ายดาว 5 แฉก และทำหน้าที่สำคัญในการสนับสนุนเซลล์สมองนิวรอน (Neuron) ทั้งในด้านการให้อาหารและการซ่อมแซมความเสียหายต่าง ๆ โดย GMB สามารถเกิดขึ้นได้ 2 รูปแบบ คือ
นอกจากนี้ในปัจจุบันยังสามารถแบ่งชนิดของ GBM ย่อย ๆ ตามลักษณะพันธุกรรม (Genetic) ซึ่งช่วยให้สามารถประเมินแนวทางการรักษาและการพยากรณ์โรคได้อย่างแม่นยำมากขึ้น โดยมียีน IDH เป็นยีนหลักที่ใช้ในการแยกชนิดของ GBM แบ่งออกเป็น
ตัว GMB เป็นเนื้องอกที่แบ่งตัวและรุกรานเข้าสู่เซลล์สมองปกติได้อย่างรวดเร็ว ทำให้สมองในบริเวณที่ได้รับผลกระทบสูญเสียการทำงานอย่างรุนแรง ที่สำคัญ คือ ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่แน่ชัดในการเกิดเนื้องอกมะเร็งชนิดนี้ ทำให้นี่เป็นเนื้องอกสมองอีกประเภทที่น่ากลัวมากที่เดียว
เนื้องอกที่เกิดจากเยื่อหุ้มสมอง (Meningioma) เป็นเนื้องอกที่เกิดจากเซลล์ Meningothelial หรือ Arachnoid Cap Cell ซึ่งอยู่ในชั้นกลางของเยื่อหุ้มสมอง (เยื่อหุ้มสมองประกอบด้วย 3 ชั้น ได้แก่ Dura, Arachnoid, และ Pia)
เนื้องอกชนิดนี้มักพบในบริเวณที่เยื่อหุ้มสมองล้อมรอบ และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายถึง 2 เท่า โดยเฉพาะในช่วงอายุ 50-60 ปี แม้สาเหตุที่ผู้หญิงมีโอกาสเป็นเนื้องอกชนิดนี้มากกว่ายังคงไม่ชัดเจน แต่ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม เช่น การกลายพันธุ์ของยีน NF2 หรือประวัติการฉายรังสี ก็อาจเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดเนื้องอกชนิดนี้ได้เช่นกัน
เนื้องอกที่เกิดจากเส้นประสาทหู (Vestibular Schwannoma) เป็นเนื้องอกที่เกิดจากเซลล์ Schwann ซึ่งอยู่ในเปลือกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 ที่มีหน้าที่รับเสียงและการทรงตัว ซึ่งผู้ที่เป็นจะมีอาการที่พบได้บ่อย คือ การสูญเสียการได้ยินและการทรงตัวผิดปกติ ส่วนสาเหตุและปัจจัยกระตุ้นของเนื้องอกชนิดนี้ยังไม่ชัดเจนนัก
โดยหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่ชัดเจนที่สุด คือ โรค Neurofibromatosis (NF2) ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีนที่โครโมโซมคู่ที่ 22 ทำให้ผู้ป่วยมักมีเนื้องอกอะคูสติกทั้งสองข้างและอาจมีเนื้องอกชนิดอื่นในสมองร่วมด้วย ส่วนการใช้โทรศัพท์มือถือมากกว่า 10 ปี และการอยู่ในที่เสียงดังเป็นเวลานานก็อาจจะเพิ่มความเสี่ยงได้ แต่ก็แค่เล็กน้อยเท่านั้น
เนื้องอกที่เกิดจากต่อมใต้สมอง (Pituitary Adenoma) คือ เนื้องอกที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ในต่อมใต้สมอง มักพบได้ประมาณ 10% ของเนื้องอกสมองทั้งหมด หากเนื้องอกมีขนาดใหญ่กว่า 1 ซม. จะเรียกว่า Macropituitary Adenoma แต่ถ้าน้อยกว่า 1 ซม. จะเรียกว่า Micropituitary Adenoma
ส่วนใหญ่เนื้องอกชนิดนี้เป็นเนื้อดีและเติบโตช้า แต่อาจส่งผลกระทบต่อการมองเห็นหรือการทำงานของฮอร์โมนในร่างกาย เนื้องอกชนิดนี้มีอาการได้ 2 แบบ คือ แบบที่เกี่ยวกับความผิดปกติของฮอร์โมน (เช่น โรค Cushing, Acromegaly) และแบบที่ไม่เกี่ยวกับฮอร์โมนแต่ส่งผลกระทบต่ออวัยวะข้างเคียง เช่น เส้นประสาทตา เป็นต้น
เนื้องอกสมองที่แพร่กระจายมาจากอวัยวะอื่น (Secondary Brain Tumor) เกิดจากมะเร็งในอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมาสู่สมอง เช่น มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม หรือมะเร็งลำไส้ โดยมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดที่แพร่กระจายมาสมอง คือ มะเร็งปอดและมะเร็งเต้านม สำคัญ คือ เนื้องอกประเภทนี้มักเป็นมะเร็ง
Brain Metastasis เป็นเนื้องอกที่พบได้มากที่สุดในสมอง โดยมีสัดส่วนถึง 50% ของเนื้องอกสมองทั้งหมด เนื้องอกชนิดนี้ไม่เกิดจากเซลล์ในสมองเอง แต่เป็นผลมาจากมะเร็งที่แพร่กระจายมาจากอวัยวะอื่น ๆ โดยมากมาจาก
การแพร่กระจายของมะเร็งมาสู่สมองเกิดขึ้นผ่านระบบหลอดเลือด เนื่องจากสมองไม่มีระบบน้ำเหลือง ดังนั้น การรักษาและการพยากรณ์โรคจะขึ้นอยู่กับชนิดของมะเร็งต้นกำเนิด
อาการผิดปกติเกี่ยวกับสมองที่ควรพบแพทย์โดยด่วน หากสังเกตตัวเองว่ามีอาการเหล่านี้ อย่ารอช้ารีบนัดหมอเพื่อตรวจต่อไป
เมื่อพบอาการ แพทย์จะทำการตรวจวินิจฉัยเบื้องต้นด้วยการซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด หากมีข้อสงสัย แพทย์จะส่งตรวจสมองเพิ่มเติมด้วยการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) หรือตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) เพื่อดูรายละเอียดของเนื้องอก และหลังจากทราบรายละเอียดเบื้องต้นแล้ว แพทย์ก็จะสามารถวางแผนการรักษาต่อไปได้ อย่างไรก็ดีการวินิจฉัยที่แน่ชัดที่สุดต้องพิจารณาจากการตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางห้องปฏิบัติการดูควบคู่ไปด้วย
การผ่าตัดเนื้องอกในสมองมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเอาเนื้องอกออกให้ได้มากที่สุดโดยไม่เกิดผลแทรกซ้อน และเพื่อช่วยลดอาการสมองบวมและลดอาการชัก เพราะฉะนั้นหากมีอาการอันตรายที่เกิดขึ้นจากเนื้องอก แพทย์ก็อาจมีวินิจฉัยให้ทำการผ่าตัด
โดยในปัจจุบันการผ่าตัดเน้นการผ่าตัดแผลขนาดเล็ก โดยใช้เทคโนโลยีเครื่องนำวิถี (Navigation) ที่ช่วยให้ศัลยแพทย์ทราบพิกัดของการผ่าตัดตลอดเวลา ทำให้การผ่าตัดมีความแม่นยำและลดความเสียหายต่อสมอง นอกจากนี้ยังมีการใช้กล้องผ่าตัดกำลังขยายสูง (Microscope) หรือกล้อง Endoscopeซึ่งช่วยให้ศัลยแพทย์มองเห็นจุดเล็ก ๆ ในสมองส่วนลึกหรือตำแหน่งที่มีความอันตรายได้ดีขึ้น ทำให้การผ่าตัดปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
ผ่าตัดเนื้องอกสมองอย่างปลอดภัย ให้โรงพยาบาลรามคำแหงดูแลคุณ เพราะเรามีความเชี่ยวชาญในการผ่าตัดเนื้องอกในสมอง ด้วยการผสมผสานเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยเข้ากับวิทยาการด้านการผ่าตัดที่ก้าวหน้า พร้อมทีมแพทย์ผู้ชำนาญการที่สามารถดำเนินการผ่าตัดด้วยความแม่นยำและปลอดภัยสูงสุด ให้คนไข้ในความดูแลได้กลับมามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บนพื้ฐานของความปลอดภัยและห่างไกลความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการรักษา มั่นใจได้ว่าการรักษาที่นี่เป็นทางเลือกที่น่าเชื่อถือสำหรับผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลที่ดีที่สุดแน่นอน
โรงพยาบาลรามคำแหง
436 ถ. รามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
1512, 02-743-9999
แฟกซ์ 0 2374 0804
support@ram-hosp.co.th